เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลเกี่ย;กับลักษณะทางกายภาพและสังคมในพื้นที่ที่จะศึกษา เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์เป็นภาพรวมอย่างชัดเจน เครื่องมาทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญ มีดังนี้
1. แผนที่ (MAP)
1.1 ความหมายของแผนที่ (Map)
1. แผนที่ (MAP)
1.1 ความหมายของแผนที่ (Map)
- แผนที่ คือ อุปกรณ์ที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อแสดงลักษณะของพื้นผิวโลกหรือสิ่งที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก ทั้งที่เกิดเองโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แม่น้ำ เทือกเขา ทะเล เป็นต้น
1.2 ประเภทของแผนที่ จำแนกได้ 3 ประเภท ได้แก่
- แผนที่ภูมิประเทศ เป็นแผนที่ที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ เช่น ภูเขา แม่น้ำ ที่ราบ โดยใช้สีต่างๆ ได้แก่ สีเขียน สีน้ำตาล สีฟ้า เป็นต้น
1.2 ประเภทของแผนที่ จำแนกได้ 3 ประเภท ได้แก่
- แผนที่ภูมิประเทศ เป็นแผนที่ที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ เช่น ภูเขา แม่น้ำ ที่ราบ โดยใช้สีต่างๆ ได้แก่ สีเขียน สีน้ำตาล สีฟ้า เป็นต้น
- แผนที่เฉพาะเรื่อง เป็นแผนที่แสดงรายละเอียดข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่สัมพันธ์กัน เพื่อใช้ในกิจการเฉพาะอย่าง โดยอาจซ้อนอยู่บนแผ่นที่พื้นฐาน เช่น แผนที่ป่าไม้ แผนที่ท่องเที่ยว แผนที่การใช้ที่ดิน แผนที่แสดงเส้นทางคมนาคม แผนที่แสดงแหล่งแร่ เป็นต้น
แผนที่ป่าไม้
- แผนที่เล่มหรือแอตลาส หมายถึง การนำแผนที่เฉพาะเรื่องหลายๆเรื่องมารวมเป็นเล่ม เช่น แผนที่เล่มชุดแผนที่โลก ประกอบด้วยแผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ เขตการปกครอง พืชพรรณธรรมชาติ แหล่งน้ำ เป็นต้น
1.3 องค์ประกอบของแผนที่
องค์ประกอบของแผนที่ หมายถีง สิ่งต่างๆที่ปรากฏบนแผนที่ แสดงไว้เพื่อให้ผู้ใช้แผนที่ทราบข้อมูลและรายละเอียดอย่างเพียงพอสำหรับการอ่านและการใช้แผนที่ได้อย่างถูกต้องและสะดวกรวดเร็ว ประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ ได้แก่
- เส้นกรอบแผนที่
- องค์ประกอบภายนอกกรอบแผนที่
- องค์ประกอบภายใจกรอบแผนที่
1.4 การอ่านและการแปลความหมายในแผนที่
- สัญลักษณ์ คือ เครื่องหมายหรือสิ่งที่ผู้ทำแผนที่คิดขึ้น เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนรายละเอียดต่างๆที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ได้แก่ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางกายภาพ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางวัฒนธรรม สัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะข้อมูลเฉพาะเรื่องหรือข้อมูลพิเศษ
- ทิศ คือ สิ่งที่่ใช้ในการนำทาง บอกให้รู้ถึงตำแหน่งช่วยให้การเดินทางไปยังจุดต่างๆ มีความถูกต้อง
- มาตราส่วน คือ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางบนแผนที่กับระยะทางจริงบนพื้นโลก
- ระบบพิกัด คือ ระบบที่กำหนดขึ้นไว้เป็นมาตรฐาน เพื่อใช้อ้างอิงถถึงตำแหน่งต่างๆบนพื้นดลกจากแผนที่ มีลักษณะเป็นตารางโครงข่ายที่เกิดจากการตัดกันของเส้นเมริเดียนและเส้นขนาน
2. รีโมตซนซิง (Remote Sensing) หรือการสำรวจข้อมูลระยะไกล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุ โดยการบันทึกข้อมูลจากการสะท้อนแสงเข้ากับอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับยานสำรวจ ซึ่งข้อมูลที่ได้จากรีโมตเซนซิง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายภาพทางเครื่องบินในระดับต่ำ เรียกว่า รูปถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograp) และข้อมูลที่ได้จากการบันทึกภาพจากดาวเทียมในระดับสูงกว่า เรียนว่า ภาพจากดาวเทียม (Satellite lmage)
ภาพถ่ายทางอากาศ (Aerial Photograp) |
แผนที่รูปเล่ม
องค์ประกอบของแผนที่
1. เส้นกรอบแผนที่
2. องค์ประกอบภายนอกกรอบแผนที่ คือ รายละเอียดและคำอธิบายสิ่งต่างๆเกี่ยวกับแผนที่ประกอบด้วย ชื่อแผนที่ ทิศ มาตราส่วน และคำอธิบายสัญลักษณ์
3. องค์ประกอบภายในกรอบแผนที่ คือ รายละเอียดต่างๆ ที่อยู่ภายในเส้นกรอบแผนที่ โดยทั่วไปประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลักษณะทางภายภาพและทางวัฒนธรรม โดยแสดงด้วยเส้น สี ชื่อสถานที่ และระบบอ้างอิงในการกำหนดตำแหน่ง
😑😑😑😑😑😑
ตอบลบอยากจะรู้ว่าแผนที่เล่มมีจุดอ่อนในเรื่องใดทำไมไม่บอกมาเลยมันไม่มีเลยทุกเว็บเลยอ่ะหามาหมดทุกเว็บแล้วนะ
ตอบลบใช่ๆ
ลบจุดอ่อน
ลบ-การใช้แผนที่เล่มในการรวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์นั้นต้องคำนึงถึงความทันสมัยของข้อมูล ซึ้งต้องดูปีผลิตของแผนที่แต่ละเล่มด้วย
ในการศึกษาข้อมูลจากแผนที่เล่ม จะต้องเรียนรู้สิ่งใดเป็นอันดับแรกอ่าา อธิบายเหตุผลด้วยค่าา
ลบในการศึกษมาข้อมูลจากแผนที่เล่มนั้นจะต้องเรียนรู้สิ่งใดเป็นอันดับแรก อธิบายเหตุผลด้วยค่าาา
ตอบลบแผนที่เล่มมีจุดออ่นในเรื่องใด
ตอบลบ